วิชา แปลมคธเป็นไทย
- รายละเอียด
- ผู้สอน
รายละเอียด วิชา แปลมคธเป็นไทย | ในชั้นประโยค ป.ธ. 4 นี้ เป็นการแปลโดยอรรถ ซึ่งต่างจากการแปลโดยพยัญชนะที่มุ่งเน้นโครงสร้างทางไวยากรณ์ของภาษามคธในชั้นเปรียญตรีที่ผ่านมา โดยในชั้นประโยค ป.ธ. 4 นี้ ท่านกำหนดให้แปลโดยอรรถมุ่งอรรถทางภาษามคธให้ตรงกับหลักภาษาไทยโดยสันทัด เป็นภาษาพูดมากกว่าภาษาเขียน ถือได้ว่า ศัพท์ทุกศัพท์ ทุกวิภัตติในประโยคอาจแปลได้ก่อนทั้งสิ้น หากแปลวิภัตติใดก่อนจะได้ความชัดเจนแล้ว สามารถแปลวิภัตตินั้นก่อนได้ทันที โดยไม่ต้องคำนึงถึงหลักการแปลโดยพยัญชนะ
ผู้สอน | พระมหาวิทยา กิตฺติปญฺโญ
วุฒิการศึกษา | ประโยค ป.ธ. 8 , พธ.บ. บริหารการศึกษา
วุฒิการศึกษา | ประโยค ป.ธ. 8 , พธ.บ. บริหารการศึกษา
หลักการแปลมคธเป็นไทยโดยอรรถ
เรื่องที่ควรทำความเข้าใจก่อนเรียน |
|
1 : การแปลภาษาบาลีเป็นภาษาไทย |
กดเรียน |
2 : ลักษณะของการแปล |
กดเรียน |
3 : การแปลโดยอรรถ คือ อะไร |
กดเรียน |
4 : หลักการทั่วไปของการแปลโดยอรรถ |
กดเรียน |
5 : ความต่างจากการแปลโดยพยัญชนะ |
กดเรียน |
บทเรียนที่ 1 : บทนาม |
|
1.1 : การแปลทับศัพท์ |
กดเรียน |
1.2 : การแปลออกศัพท์ |
กดเรียน |
1.3 : สำเนียงแปล วจนะ |
กดเรียน |
1.4 : สำเนียงแปล อายตนิบาต |
กดเรียน |
1.5 : สำเนียงแปล อาลปนะ |
กดเรียน |
1.6 : สำเนียงแปล สังขยา |
กดเรียน |
1.7 : สำเนียงแปล ปุริสสัพพนาม |
กดเรียน |
1.8 : สำเนียงแปล วิเสสนสัพพนาม |
กดเรียน |
บทเรียนที่ 2 : บทกิริยา |
|
2.1 : สำเนียงแปล กิริยาอาขยาต |
กดเรียน |
2.2 : สำเนียงแปล กิริยากิตก์ |
กดเรียน |
2.3 : สำเนียงแปล กิริยาอาบ |
กดเรียน |
2.4 : สำเนียงกิริยา ต้องแปลให้มีความหมายตรงกับตัวประธานนิบาต |
กดเรียน |
2.5 : กิริยาคุมพากย์ ที่ปรุงมาจากธาตุว่า เกิด, มี, เป็น นิยมแปลก่อนประธาน |
กดเรียน |
2.6 : กิริยามาจากธาตุตัวเดียวกัน ทั้งกัตตุและเหตุกัต ทั้งอยู่ในประโยคใกล้เคียงกัน |
กดเรียน |
2.7 : แปลหนุนกิริยา ชื่อว่า หลัง อนฺต มาน |
กดเรียน |
2.8 : แปลหนุนกิริยา ชื่อว่า รับเหตุ |
กดเรียน |
บทเรียนที่ 3 : บทนิบาต |
|
3.1 : หิ จ ปน ตุ นิบาตต้นข้อความ |
กดเรียน |
3.2 : จ ศัพท์ ควบบทควบพากย์ |
กดเรียน |
3.3 : ปิ ศัพท์ ควบบทควบพากย์ |
กดเรียน |
3.4 : วา ศัพท์ ควบบทควบพากย์ |
กดเรียน |
3.5 : นาม ศัพท์ |
กดเรียน |
3.6 : อิติ ศัพท์ |
กดเรียน |
บทเรียนที่ 4 : บทอุปสัค |
|
4.1 : สำเนียงแปล ทุ อุปสัค |
กดเรียน |
4.2 : สำเนียงแปล นิ อุปสัค |
กดเรียน |
4.3 : สำเนียงแปล วิ อุปสัค |
กดเรียน |
บทเรียนที่ 5 : การแปลล้มประโยค |
|
5.1 : ประโยค ย ต |
กดเรียน |
5.2 : ประโยค ยาว ตาว |
กดเรียน |
5.3 : ประโยค ยสฺมา ตสฺมา |
กดเรียน |
5.4 : ประโยค ยํ กิริยาปรามาสนิบาต |
กดเรียน |
5.5 : ประโยค ยถา ตถา (ปการตฺถ) |
กดเรียน |
5.6 : ประโยค ยถา ตถา (อุปมาอุปไมย) |
กดเรียน |
5.7 : ประโยค เอตทัคคะ |
กดเรียน |
บทเรียนที่ 6 : การแปลล้มวาจก |
|
6.1 : ล้ม กัมมวาจก เป็น กัตตุวาจก |
กดเรียน |
6.2 : ล้ม เหตุกัตตุวาจก เป็น กัตตุวาจก |
กดเรียน |
6.3 : ล้ม กัตตุวาจก เป็น กัมมวาจก |
กดเรียน |
6.4 : ล้ม เหตุกัมมวาจก เป็น เหตุกัตตุวาจก |
กดเรียน |
6.5 : ล้มวาจก ประโยคอนาทรและลักขณะ |
กดเรียน |
6.6 : ล้มวาจก ในบทสมาส |
กดเรียน |
บทเรียนที่ 7 : การแปลประโยคบาลีลักษณะอื่นๆ |
|
7.1 : ประโยค อนาทร |
กดเรียน |
7.2 : ประโยค ลักขณะ |
กดเรียน |
7.3 : ประโยค คำถาม |
กดเรียน |
7.4 : ประโยค ตุง ปัจจัย |
กดเรียน |
7.5 : ประโยค รูปวิเคราะห์นามกิตก์ |
กดเรียน |
7.6 : ประโยค รูปวิเคราะห์สมาส |
กดเรียน |
7.7 : ประโยค รูปวิเคราะห์ตัทธิต |
กดเรียน |
บทเรียนที่ 8 : การแปลภาวศัพท์ – ภาวตัทธิต |
|
8.1 : ภาว ศัพท์ แปลต่อจากธาตุที่มีความหมายว่า รู้, แสดง, ทราบ |
กดเรียน |
8.2 : สำเนียงแปล ภาว ความเป็นแห่ง |
กดเรียน |
8.3 : สำเนียงแปล ภาว ความที่แห่ง |
กดเรียน |
8.4 : สำเนียงแปล ภาว ความเป็นคืออัน |
กดเรียน |
8.5 : สำเนียงแปล ภาว ความที่แห่ง…เป็น |
กดเรียน |
บทเรียนที่ 9 : การแปลอรรถกถาโดยอรรถ |
|
9.1 : การแปล แบบตั้ง อตฺโถ |
กดเรียน |
9.2 : การแปล แบบไม่ตั้ง อตฺโถ |
กดเรียน |
9.3 : สำเนียงแปลเปิด บทตั้งในอรรถกถา |
กดเรียน |
9.4 : สำเนียงแปลเปิด บทอธิบายในอรรถกถา |
กดเรียน |
9.5 : สำเนียงแปลไข วิวริย วิวรณ |
กดเรียน |
9.6 : สำเนียงแปลไข สัญญี สัญญา |
กดเรียน |
9.7 : กิริยาคุมพากย์ คือ วทนฺติ ไม่มีประธาน |
กดเรียน |
บทเรียนที่ 10 : สำเนียงนิยม |
|
10.1 : ปเคว, โก ปน วาโท, กิมงฺคํ ปน |
กดเรียน |
10.2 : สงฺขาต |
กดเรียน |
10.3 : วเสน |
กดเรียน |
10.4 : อาทิ |
กดเรียน |
10.5 : สหบุพพบท พหุพพิหิ |
กดเรียน |
10.6 : ทวันทวสมาส |
กดเรียน |
10.7 : นามกิตก์ กัตตุรูป ตัสสีลสาธนะ |
กดเรียน |
10.8 : แปลเหน็บ ไซร้ |
กดเรียน |
10.9 : แปลเหน็บ ฉะนั้น |
กดเรียน |
10.10 : แปลยังไม่หมดกลิ่นเนย |
กดเรียน |
10.11 : สำเนียงวิเสสนะว่า ผู้มีอัน สามารถใช้ ที่ ซึ่ง แทนได้ |
กดเรียน |