วิชา แปลไทยเป็นมคธ
- รายละเอียด
- ผู้สอน
รายละเอียด วิชา แปลไทยเป็นมคธ | เป็นวิชาว่าด้วยการแต่งประโยคภาษาบาลี ซึ่งถือเป็น วิชาใหม่ สำหรับนักเรียนชั้นประโยค ป.ธ. ๔ โดยความยากของวิชานี้ นอกจะเป็นวิชาใหม่แล้วยังเป็นวิชาที่ประมวลเอาทักษะของวิชาต่างๆในชั้นเปรียญตรีมาใช้ในวิชาของตนด้วย อาทิ ความรู้ความเข้าใจในวิชาบาลีไวยากรณ์, ความรู้เรื่องวิชาสัมพันธ์ไทย ตลอดไปจนถึงการแปลมคธเป็นไทยโดยพยัญชนะและโดยอรรถ เรียกว่า ทุกวิชาที่เคยเรียนผ่านมา ล้วนรวมกันเข้ากลายเป็นวิชานี้ สำหรับวิชากลับชั้นประโยค ป.ธ. ๔ คณะสงฆ์ไทยกำหนดให้ใช้หนังสือธัมมปทัฏฐกถา ภาค ๑ เป็นเนื้อหาประกอบการเรียน ในส่วนความรู้พื้นฐานของวิชานี้ ผู้สอนจะเน้นหลักการเรียงศัพท์และประโยคให้นักเรียนได้จดจำนำไปใช้เป็นเกณฑ์ในการแต่งบาลีเป็นสำคัญ
ผู้สอน | พระมหาวิทยา กิตฺติปญฺโญ
วุฒิการศึกษา | ประโยค ป.ธ. 8 , พธ.บ. บริหารการศึกษา
วุฒิการศึกษา | ประโยค ป.ธ. 8 , พธ.บ. บริหารการศึกษา
เนื้อหาของวิชานี้
เรื่องที่ควรทำความเข้าใจก่อนเรียน |
|
วิชากลับ คืออะไร |
กดเรียน เอกสาร |
3 ทักษะสำคัญที่ต้องฝึกให้ชำนาญเพื่อเสริมการเรียนวิชากลับ |
กดเรียน เอกสาร |
บทที่ 1 : การเรียงวิภัตติทั้ง ๗ |
|
บทที่ 1.1 ปฐมาวิภัตติ |
กดเรียน เอกสาร |
บทที่ 1.2 ทุติยาวิภัตติ |
กดเรียน เอกสาร |
บทที่ 1.3 ตติยาวิภัตติ |
กดเรียน เอกสาร |
บทที่ 1.4 จตุตถีวิภัตติ |
กดเรียน เอกสาร |
บทที่ 1.5 ปัญจมีวิภัตติ |
กดเรียน เอกสาร |
บทที่ 1.6 ฉัฏฐีวิภัตติ |
กดเรียน เอกสาร |
บทที่ 1.7 สัตตมีวิภัตติ |
กดเรียน เอกสาร |
บทที่ 1.8 อาลปนะ |
กดเรียน เอกสาร |
บทที่ 2 : การเรียงนิบาต |
|
บทที่ 2.1 : นิบาตและกลุ่มศัพท์อันดับ 1 |
กดเรียน เอกสาร |
บทที่ 2.2 : นิบาตและกลุ่มศัพท์อันดับ 2 |
กดเรียน เอกสาร |
บทที่ 2.3 : นิบาตวางติดหลังศัพท์อื่น |
กดเรียน เอกสาร |
บทที่ 2.4 : มญฺเญ ศัพท์ |
กดเรียน เอกสาร |
บทที่ 2.5 : สทฺธึ และ สห ศัพท์ |
กดเรียน เอกสาร |
บทที่ 2.6 : ปฏฺฐาย และ ยาว ศัพท์ |
กดเรียน เอกสาร |
บทที่ 2.7 : น ศัพท์ |
กดเรียน เอกสาร |
บทที่ 2.8 : มา ศัพท์ |
กดเรียน เอกสาร |
บทที่ 2.9 : จ ศัพท์ |
กดเรียน เอกสาร |
บทที่ 2.10 : วา ศัพท์ |
กดเรียน เอกสาร |
บทที่ 2.11 : ปิ ศัพท์ |
กดเรียน เอกสาร |
บทที่ 2.12 : วิธีใช้ปัจจัยในอัพยยศัพท์ |
กดเรียน เอกสาร |
บทที่ 3 : การเรียงบทวิเสสน |
|
บทที่ 3.1 : วิเสสนะ |
กดเรียน เอกสาร |
บทที่ 3.2 : กิริยาวิเสสนะ |
กดเรียน เอกสาร |
บทที่ 3.3 : วิกติกัตตา |
กดเรียน เอกสาร |
บทที่ 3.4 : วิกติกัมมะ |
กดเรียน เอกสาร |
บทที่ 4 : การเรียงบทกิริยา |
|
บทที่ 4.1 : กิริยาคุมพากย์ |
กดเรียน เอกสาร |
บทที่ 4.2 : กิริยาในระหว่าง |
กดเรียน เอกสาร |
บทที่ 4.3 : กิริยาซ้อน (กิริยาอาบ) |
กดเรียน เอกสาร |
บทที่ 5 : การเรียงประโยคตามหลักไวยากรณ์ |
|
บทที่ 5.1 : ประโยคกัตตุวาจก |
กดเรียน เอกสาร |
บทที่ 5.2 : ประโยคเหตุกัตตุวาจก |
กดเรียน เอกสาร |
บทที่ 5.3 : ประโยคภาววาจก |
กดเรียน เอกสาร |
บทที่ 5.4 : ประโยคกัมมวาจก |
กดเรียน เอกสาร |
บทที่ 5.5 : ประโยคเหตุกัมมวาจก |
กดเรียน เอกสาร |
บทที่ 6 : การเรียงประโยคที่มีลักษณะเฉพาะ |
|
บทที่ 6.1 : ประโยค ลักขณะ |
กดเรียน เอกสาร |
บทที่ 6.2 : ประโยค อนาทร |
กดเรียน เอกสาร |
บทที่ 6.3 : ประโยค กิริยาปธานนัย |
กดเรียน เอกสาร |
บทที่ 6.4 : ประโยค อลํ |
กดเรียน เอกสาร |
บทที่ 6.5 : ประโยค ยํ กิริยาปรามาส |
กดเรียน เอกสาร |
บทที่ 6.6 : ประโยค กิมงฺคํ ปน |
กดเรียน เอกสาร |
บทที่ 6.7 : ประโยค หิ นาม |
กดเรียน เอกสาร |
บทที่ 6.8 : ประโยค วุจจติ คุมพากย์ |
กดเรียน เอกสาร |
บทที่ 6.9 : ประโยค เจ, สเจ, ยทิ |
กดเรียน เอกสาร |
บทที่ 6.10 : ประโยค คําถามทั่วไป |
กดเรียน เอกสาร |
บทที่ 6.11 : ประโยค ถาม – ตอบทุกข์สุข |
กดเรียน เอกสาร |
บทที่ 6.12 : ประโยค ต้นเรื่อง |
กดเรียน เอกสาร |
บทที่ 6.13 : ประโยค ก่อนจะตรัสพระคาถา |
กดเรียน เอกสาร |
บทที่ 6.14 : ประโยค ตรัสถามภิกษุสนทนากัน |
กดเรียน เอกสาร |
บทที่ 6.15 : ประโยค ประชุมกันในโรงธรรม |
กดเรียน เอกสาร |
บทที่ 6.16 : ประโยค สรุปผลการแสดงธรรม |
กดเรียน เอกสาร |
บทที่ 6.17 : ประโยค สกฺกา |
กดเรียน เอกสาร |
บทที่ 6.18 : ประโยค เข้าเฝ้า |
กดเรียน เอกสาร |
บทที่ 6.19 : ประโยค ตั้งเอตทัคคะ |
กดเรียน เอกสาร |
บทที่ 6.20 : ประโยค ซ้ำความ |
กดเรียน เอกสาร |
บทที่ 6.21 : ประโยค พุทธพจน์ |
กดเรียน เอกสาร |