วิชา แปลมังคลัตถทีปนี
- รายละเอียด
- ผู้สอน
รายละเอียด : วิชา แปลมคธเป็นไทย | คัมภีร์มังคลัตถทีปนี นี้ พระสิริมังคลาจารย์ นักปราชญ์ชาวเชียงใหม่ เป็นผู้แต่งขึ้น โดย นําพระบาลีจากพระไตรปิฎก เล่มที่ 25 มงฺคลสุตฺตปาลิ ประมาณหนึ่งหน้ามาอธิบายขยายความ เนื้อหาที่นํามาอธิบาย มีทั้งไวยากรณ์ วุตโตทัย อรรถกถา ฎีกา และอนุฎีกา เป็นที่ยอมรับของนักปราชญ์ทางพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาท นานาประเทศ เป็นหนังสือที่มีคําอธิบายโดยอ้างอิงหลักฐาน จากแหล่งต่างๆ พร้อมทั้งมีตัวอย่างประกอบด้วย ฉะนั้น จึงเป็นหนังสือที่มีประโยชน์ต่อพุทธบริษัทอย่างมาก ซึ่งภิกษุสามเณรก็นิยมนําไปเทศน์สั่งสอนชาวประชาอยู่เนืองๆ ในงานต่างๆ ไม่ว่าเป็นงานมงคลหรือแม้แต่อวมงคลก็ตาม นอกจากนั้นแล้ว ยังใช้เป็นหลักสูตรสําหรับผู้ศึกษาบาลีสนามหลวง ประโยค ป.ธ. 4, 5 และประโยค ป.ธ. 7 อีกด้วย (คำนำจากหนังสือ มังคลัตถทีปนีแปล เล่ม 1 ภาค 1 พิมพ์โดยวัดจากแดง)
ผู้สอน | พระมหาวิทยา กิตฺติปญฺโญ
วุฒิการศึกษา | ประโยค ป.ธ. 8 , พธ.บ. บริหารการศึกษา
วุฒิการศึกษา | ประโยค ป.ธ. 8 , พธ.บ. บริหารการศึกษา
มงคลข้อที่ 12 – 13 : การสงเคราะห์บุตรและภรรยา
หัวข้อ |
แนวทางการเรียน |
ข้อที่ 376 |
แปลและอธิบาย เอกสาร |
ข้อที่ 377 |
แปลและอธิบาย เอกสาร |
ข้อที่ 378 – 379 |
แปลและอธิบาย เอกสาร |
ข้อที่ 380 – 381 |
แปลและอธิบาย เอกสาร |
ข้อที่ 382 |
แปลและอธิบาย เอกสาร |
ข้อที่ 383 |
แปลและอธิบาย เอกสาร |
ข้อที่ 384 – 385 |
แปลและอธิบาย เอกสาร |
ข้อที่ 386 – 387 |
แปลและอธิบาย เอกสาร |
ข้อที่ 388 – 389 |
แปลและอธิบาย เอกสาร |
ข้อที่ 390 – 391 |
แปลและอธิบาย เอกสาร |
ข้อที่ 392 – 393 |
แปลและอธิบาย เอกสาร |
ข้อที่ 394 – 395 |
แปลและอธิบาย เอกสาร |
ข้อที่ 396 |
แปลและอธิบาย เอกสาร |
ข้อที่ 397 – 398 |
แปลและอธิบาย เอกสาร |